หน่วยที่5
โปรโตคอล
เนื้อหาสาระ
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นระบที่จะต้องมีการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต่ออยู่ ในเครือข่ายที่มีฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์กี่แตกต่างกัน ดังนั้นเพื่อให้การสื่อสารสามารถติดต่อสื่อสารกัน ดังนั้นเพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันอย่างมีประสิริภาพสามารตีความหมายได้ตรงกัน จะต้องมีการกำหนดระเบียบวิธีการติดต่อสื่อสารขึ้น
5.1 ความหมายของโปรโตคอล
โปรโตคอล (Protocol) หมายถึง มาตรฐานหรือข้อตกลงเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการและรูปแบบการส่งข้อมูล จังหวะเวลาการส่งข้อมูล ลำดับการรับส่งข้อมูล และวิจัดการป้องกันความผิดพลาดต่าง ๆ โปรโตคอลเปรียบเสมือนภาษาที่ใช้ในการสื่อสารในระบบเครือข่ายเป็นกฎเกณฑ์และกระบวนการในการสื่อสาร โปรโตคอลมีอยู่หลายชนิดซึ่งแต่ละชนิดจะมีจุดประสงค์ในการทำงานที่แตกต่างกัน โดยโปรโตคอลจะประกอบด้วย 3 ส่วนหลักคือ
1. Syntax หมายถึง รูปแบบหรือโครงสร้างของข้อมูล เช่น กำหนดว่าใน 8 บิต แรกจะหมายถึงแอดเดรสของผู้สงอีก 8 บิต ถัดมาหมายถึงแอดเดรสของผู้รับ ส่วนที่หลือจึงจะเป็นข้อมูลซึ่งถ้าไม่มีการกำหนดรูปแบบ Syntax แล้ว แอนติตี้จะไม่สามารถทราบได้เลยว่าบิตแต่ละบิตที่ได้รับมานั้นคืออะไร
2. Semantics หมายถึง ความหมายของข้อมูลที่ได้รับมา เช่น เมื่อทราบแอดเดรสของผู้รับแล้วเอนติตี้จะสามารถทำการหาเส้นทาง เป็นต้น
3. Timing เป็นข้อกำหนดของเวลาในการรับส่งข้อมูล เนื่องจากเอนติตี้แต่ละตัวนั้นมาความเร็วในกรับส่งที่ไทำกัน เช่น ตัวหนึ่งมีความเร็วของการส่ง 100 Mbps แต่อีกตัวมีความเร็วในการรับแต่1 Mbps ถ้าไม่มีโปรโตคอลแล้วข้อมูลโดยส่วนใหญ่จะหายไป เนื่องจากเอนติตี้ที่ทำงานช้ากว่าจะไม่สามารถรับข้อมูลได้ทันโปรโตคอลการสื่อสารข้อมูลในปัจจุบันมีอยู่มากมาย และเนื้อหาในหน่วยนี้จะกล่าวถึงโปรโตคอลที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง เช่น TCPIP, FTP, HTTP และ HTTPs ดังนี้
5.2 โปรโตคอล TCP/AP
TCPIP (Transmission Control Protocol internetworking Protocol) หมายถึง ชุดของโปรโตคอลที่ถูพัฒนขึ้นมา เพื่อใช้ในการลกเปลี่ยนข้อมูลบนเครือข่ายอินทอร์เน็ต โปโดคอล TCPP ถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานบนเครือข่ายระยะไกล เครือข่ายท้องถิ่นและยังสามารถเชื่อมต่อไปยังโลกภายนอกหรือหรือข่ายอินเทอร์ได้ดังนั้นโปรโตคอล TCPแP จึงเป็นโปรโตคอลที่ได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงTCPIP เป็นชุดของโปรโตคอลที่ใช้ในการสื่อสารผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างระบบที่มีความแตกต่างกันจากตันทางชมเครือข่ายไปยังปลายทางและสามารถหาเส้นทางที่จะส่งข้อมูลไปได้เองโดยอัตโนมัติ ถึงแม้ในระหว่างทางอาจจะผ่านเครือข่ายที่มีปัญหา โปรโตคอลTCPIP ก็ยังคงหาเส้นทางอื่นในการส่งผ่านข้อมูลไปให้ถึงปลายทางได้โดยการส่งข้อมูลด้วยโปรโตคอลTCPIP จะเป็นการส่งข้อมูลผ่านชั้นการสื่อสาซึ่งแต่ละชั้นจะทำการประกอบข้อมูลที่ได้รับมากับข้อมูลส่วนควบคุมซึ่งถูกนำมาไว้ในส่วนของข้อมูลเรียกว่า Header โดยภายใน Header จะบรรจุข้อมูลที่สำคัญของโปรโตคอลที่ทำการห่อหุ้มข้อมูลเมื่อผู้รับได้รับข้อมูลก็จะเกิดกระบวนการทำงานย้อนกลับและทราบว่าข้อมูลที่ตามมามีลักษณะอย่างไร
5.3 โปรโตคอล FTP (File Transfer Protocol)
โปรโตคอล FTP (File Transfer Protocol) เป็นโปรโตคอลที่บริการด้านการถ่ายโอนแฟ้มข้อมูลระหว่าโฮสต์หรือคัดลอกข้อมูลบนเครือข่าย
การทำงานของ FTP จะเริ่มจากผู้ใช้ผ่านโปรแกรม User Interface และถ้ามีการใช้คำสั่งต่างๆ ของ FTP จะเป็นหน้าที่ PI ทำหน้าที่แปลคำสั่งและทำงานตามคำสั่ง ในกรณีที่มีการรับส่งข้อมูลที่จะเป็นหน้าที่ของ DT
5.4 โปรโตคอล HITP (Hyper text Transfer Protocol)
โปรโตคอล HITP (Hyper text Transfer Protocol) เป็นข้อกำหนดที่ใช้สำหรับเรียกดูเอกสาร"เวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งจัดเป็นตัวกลางในการรับส่งข้อมูลระหว่างโปรแกรมเบราเซอร์และเว็บเชิร์ฟเวอร์เป็นโปรโตคอลในระดับชั้นโปรแกรมประยุกต์เพื่อการแจกจ่ายและการทำงานร่วมกันกับสารสนเทศของสื่อผล
เป็นมาตรฐานในการร้องขอและกรตอบรับการใช้เว็บไขระหว่างเครื่องลูกข่ายกับเครื่องแม่ข่ายผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์
5.5 โปรโตคอล UDP (User Datagram Protocol)
โปรโตคอล UDP (User Datagram Protocol) เป็นโปรโตคอลในลำดับชั้นทรานสปอร์ต โดยในส่วนของเฮดเดอร์จะประกอบด้วยหมายเลขพอร์ตต้นทางและปลายทาง ขนาดความกว้างของข้อมูล และตัวควบคุมข้อผิดพลาด (Checksum) โดยแพ็ก็ตที่ประกอบขึ้นจาก บDP นี้จะเรียกว่า ยูสเซอร์ดาต้าแกรม(User Datagram)
|